วิเคราห์ภาระงาน(Task Analysis)
T : วิเคราะห์ภาระงาน (Task
Analysis) ศึกษาข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ได้ความรู้(knowledge) ทักษะ
(Skill) และเจตคติ(Attitude) ทีเกี่ยวข้องเพื่อการอธิบายภาระงานหรือกิจกรรมที่ช่วยน้ำทางผู้เรียนไปสู่
จุคหมายการเรียนรู้การวิเคราะห์งานจะเขียนแสดงความสัมพันธ์ด้วย
KSA diagram คือ Knowledge-Ski
Attitudes
การวิเคราะห์ภาระงานเป็นส่วนหนงของการวิเคราะห์การเรียนการสอน
การวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานเป็นการตรวจสอบว่าในการศึกษานั้นๆ มีงานใดที่เป็นชีวิตจริง
เเละมีความรู้ทักษะและเจตคติใดบ้างที่นำไปสู่ความสำเร็จในการทำงานนั้น
ๆ การวิเคราะห์งานข่ายให้แน่ใจว่าจะได้สาระและคุณค่าที่เกี่ยวข้องในการเรียนรู้
การวิเคราะห์ภาระงาน
การวิเคราะห์ภาระงานคล้ายคลึงกันกับการวิเคราะห์งานแต่มีระดับของการวิเคราะห์อยู่ที่ รายละเอียด-หน่วยย่อย การวิเคราะห์งานทำได้โดยการจำแนก
งานออกเป็นภาระงานหลายภาระงาน จากนั้นการวิเคราะห์ภาระงานที่จะวิเคราะห์ย่อยลงถึงสวนประกอบ
โดยใช้คำถามในการวิเคราะห์เช่นเดียวกันกับการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้จะเป็นการจำกัดขอบเขตของเรื่องที่จะนำมาสอนกับเรื่องที่ไม่ด้องนำมาสอน
ซึ่งมีความสำคัญยงในปัจจุบันเนื่องจากหนังสือเรียนบรรจุสาระสนเทศไว้มากเกินกว่าที่จะนำมาสอนอย่างมีประสิทธิผลในระยะเวลาหนี้เภาคเรียน
ควรยืดหลักว่า เพื่อเป็นผลดีต่อ การเรียนรู้จริง ๆ ของผู้เรียน
สื่อการเรียนรู้ที่จำเป็นถึงแม้ว่าจะน้อยแต่ก็ดีกว่าสื่อการเรียนรู้ขนาดใหญ่
แต่ไม่ได้ช่วยให้ประสบความสำเร็จในการเรียน
Herman, J L.. Aschbacher, P. R., and Winters, L
(1992
อ้างถึงใน ชอบ ลีชอ (2555) การประเมินตามสภาพจริง
สำนาทดสอบทางการค้าษากระทรวงศึกษาธิการ ) การออกเเบบเเละพัฒนาภาระงาน ต้องอาศัยหลักวิชา การวิเคราะห์
ความคิดสร้างสรรค์และความเชียวชาญในเนื้อหาสาระในระดับมืออาชีพขั้นตอนการสร้างภาระงานมีดังต่อไปนี้
การสอนเพื่อความเข้าใจ :การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ
การกำหนดจุดหมายที่พึงประสงค์ในการสอนเพื่อความเข้าใจครูจะพิจารณาว่านักเรียนมีความรู้
พื้นฐานทเป็นสิ่งมีคุณค่าและน่าจะรู้อะไรบ้างแล้ว
จากนั้นกำหนดขอบข่ายให้เเคบลงว่านักเรียนควรมีสื่งที่
จำเป็นต้องรู้และจำเป็นต้องทำนักเรียนการทำความเข้าใจในเรื่องใด
และการทำอะไรได้บ้าง ควรมีความ
เข้าใจที่ยังยืนอะไรบ้าง
การปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนภายใต้ข้อจำกัดของทรัพยากร
ชั้นเรียนโดยทั่วไปกำหนดให้มีจำนวนผู้เรียนประมาณห้องหรือกลุ่มละ 30 คน เพื่อที่ผู้สอนและผู้เรียนจะได้มีปฏิสัมพันธ์อย่างทั่วถึงและกระบวนการจัดการเรียนการสอนเป็นทางการ
เมื่อสังคมเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้เรียนเพิ่มขึ้น เป็นผลให้ชั้นเรียนขนาดเล็กกลายเป็นชั้นเรียนขนาดใหญ่
สอนในสถาบันอุดมศึกษาที่รับผิดชอบ สอนผู้เรียนขนาดใหญ่ได้เเบ่งเป็นกลุ่มหรือชั้นเรียนขนาดเล็กโดยมีผู้ช่วยสอนหรือไม่ผู้สอนก็ใช้เทคโนโลยีมาใช้ในการสอนเ
มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและเทคนิคการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับผู้สอน ผู้ช่วยสอน
อัธยาตมวิทยา : ความรู้ที่เกี่ยวกับจิตใจของคน
นิรมล ตีรณสาร สวัสดิบุตร (2548 : 7-8) ได้กล่าวไว้ว่า หนังสือ
อัธยาตมวิทยา (อ่านว่า อัด-ทะ-
ยาต-ตะ-มะ-วิด-ทะ-ยา) หมายถึง ความรู้ที่เกี่ยวกับจิตใจของคน ซึ่งเป็นความรู้ที่ให้เป็นครูจำเป็นต้องรู้
เพราะ
ทำงานกับคน เป็นตำราวิชาครูของกรมศึกษาธิการ ที่เขียนโดย ขุนจรัส ชวนะพันธ์ เสารท
สุทธเสถียร) พิมพ์
เผยแพร่ในปี ร.ศ.125 (พ.ศ.2449)
การสานสร้างความรู้จากสังคม
Toffier (1980) กล่าวถึงพัฒนาการทางสังคมมนุษย์จากสังคมเกษตรกรรมมาสู่สังคมอุตสาหกรรมและสังคมสารสนเทศพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศเรียกกันในช่วงแรกวา
1 จากมา (information society) ต่อมาผู้คนในสังคมที่มีปัญญาสามารถจัดการความรู้ได้สังคมสารสนเทศก็กลายเป็นสังคมฐานความรู้(Knowledge
based society) การพัฒนาเทคโนโลยีไร้สายเป็นผลให้แนวทางในการจัดการศึกษาจำเป็นต้องให้สมาชิกในสังคมให้พร้อมรับสังคมฐานความรู้
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือดีกว่ากระบวนการเรียนรู้แบบอื่น ๆ 3)
การประเมินผลระหว่างเรียนให้ผลที่จุดมุ่งหมายที่การพัฒนาการการใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือและ
4)
การศึกษาผลกระทบของการเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อผู้เรียนการเรียนรู้แบบร่วมมืออาจใช้ได้ดีกับทุกระดับชั้นทุกเนื้อหาวิชาและทุกงาน
(ภาระงาน) ด้วยความมั่นใจความร่วมมือเป็นความพยายามของมนุษย์โดยทั่วไปซึ่งส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ต่าง
ๆ ทางการศึกษาผลลัพธ์นี้ Johnson and Johnson (1989a)