บทที่ 8
การประเมินอิงมาตรฐาน Standard Based
Assessment
S: การประเมินอิงมาตรฐาน (Standard Based Assessment) การประเมินคุณภาพการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้แนวคิดพื้นฐานโครงสร้างการสังเกตผลการเรียนรู้
(Structure of Observed Learning Outcomes รวมถึงมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานมีความสำคัญอย่างยิ่งในชั้นเรียนมาตรฐานเป็นตัวกระตุ้นการสอนที่ประสบผลดีที่สุดสำหรับผู้สอนที่มีความสามารถสูงสุดเมื่อผู้สอนมองการสอนเทียบกับมาตรฐานจะพบว่าการสอนตอบสนองต่อมาตรฐานเพื่อความชัดเจนผู้สอนต้องตอบคำถามเรื่องการเรียนการสอนกับมาตรฐาน
ดังนี้
ใครกำลังสอนมาตรฐานใดเพื่อตอบคำถามว่าใครสอนมาตรฐานอะไรไม่ใช่ใครสอนหัวข้อใด
ใครประเมินผลมาตรฐานใดบ้างโดยวิธีใดเพื่อตอบคำถามว่าใครประเมินมาตรฐานใดโดยวิธีใด
การนำมาตรฐานมาใช้เพื่อกำหนดว่าเนื้อหาและทักษะใดสัมพันธ์กับมาตรฐานใดแต่การเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาและทักษะกับมาตรฐานอาจไม่เพียงพอส่งผลให้มาตรฐานบางอย่างถูกละเลยเมื่อมีข้อมูลว่ามาตรฐานใดบ้างที่จะนำมาใช้ในการสอนและการประเมินผลแล้วก็จะช่วยให้ตัดสินใจได้ว่าควรจะสอนและประเมินผลอะไรในระดับชั้นโคและวิชาใดโดยวิกโดสามารถระบุได้ชัดเจนว่ามาตรฐานได้นำมาใช้ในการสอนและการประเมินผลอย่างไรการเริ่มต้นด้วยมาตรฐานในการสอนและการประเมินผลที่ใช้อยู่ในชั้นเรียนหรือรายวิชานั้น
ๆ
เป็นสิ่งที่ง่ายที่สุดจากนั้นจึงเคลื่อนไปสู่มาตรฐานที่ยังไม่ได้สอนหรือการประเมินผลต่อไปและขั้นตอนสุดท้ายเป็นการทบทวนเพื่อตัดสินใจตอบคำถามดังต่อไปนี้
แผนจัดการเรียนรู้นี้ดีที่สุดหรือไม่ถ้าไม่จะต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในเรื่องใดบ้างมีสิ่งใดบ้างที่ถูกมองข้ามไปหรือมีมากเกินไป
ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้อย่างเพียงพอและแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานหรือไม่
สอนแต่ละมาตรฐานบ่อยๆมากเพียงพอที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ที่ลุ่มลึกขึ้นหรือไม่
มาตรฐานเป็นการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความคาดหวังเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียนมาตรฐานทำให้เกิดโครงสร้างซึ่งนำไปสร้างเป็นหลักสูตรท้องถิ่นที่สมบูรณ์แบบและลุ่มลึกได้มาตรฐานระดับชาติและระดับท้องถิ่นเป็นแหล่งวิทยาการที่สำคัญสำหรับผู้สอนคำถามที่ผู้สอนจะต้องให้ความสำคัญ
คือ
มาตรฐานใดบ้างที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผู้เรียนแต่ละคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกมาตรฐานหรือไม่
การนำเสนอมาตรฐานอยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์และผู้สอนสามารถนำไปใช้ได้หรือไม่
เราจะนำมาตรฐานไปใช้ในชั้นเรียนและโรงเรียนทั่วทั้งเขตพื้นที่การศึกษาได้อย่างไรการประเมินผลและการนิเทศ
Carr,
Judy F and Harie, Douglas E. (2001: 153) กล่าวสรุปไว้ว่าการพัฒนาวิชาชีพการนิเทศการประเมินผลมีจุดหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการเรียนรู้ตามมาตรฐานและได้นำเสนอหลักการดำเนินการพัฒนาด้านวิชาชีพที่อิงมาตรฐาน
7 ประการ ดังนี้
หลักการที่
1 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพเกิดจากภาพลักษณ์ที่ดีด้านการเรียนการสอนการพัฒนาวิชาชีพตามระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐานมีคำถามที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะบรรลุมาตรฐาน
ดังต่อไปนี้
ใครจะรับผิดชอบมาตรฐานใด
แนวทางการเรียนการสอนจะเป็นอย่างไรในชั้นเรียนผู้สอนและผู้เรียนจะมีบทบาทอย่างไรระดับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังควรตั้งไว้เท่าใดใช้เกณฑ์ใดในการกำหนดผลสัมฤทธิ์ของมาตรฐานและจะประเมินมาตรฐานอย่างไร
ใช้ข้อมูลใดบ่งบอกว่าบรรลุมาตรฐานและอะไรบ้างที่นำไปใช้ในการเรียนการสอน
หลักการที่ 2 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพให้โอกาสผู้สอนได้สร้างองค์ความรู้และทักษะของตนเองเป้าหมายของการวางแผนการสอนมีขอบข่ายเนื้อหาที่จะปรับปรุงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างชัดเจนโดยเชื่อมโยงลำดับความสำคัญของการพัฒนาวิชาชีพกับแผนการสอนกรณีตัวอย่างสถานศึกษากำหนดแผนการพัฒนาประกอบด้วยประเด็นหลัก
3 ประเด็นคือการวิเคราะห์ผลงานของผู้เรียนการจัดทำแฟ้มสะสมงานและการพัฒนาวิธีการวัดผลหลังจบหลักสูตรในแต่ละประเด็นเน้นการพัฒนาความสามารถของผู้สอนในด้านการสอนและประเมินการแก้ปัญหาโดยเปิดโอกาสให้จัดทำแผนพัฒนาวิชาชีพระยะยาว
หลักการที่ 3 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพใช้หรือเป็นตัวแบบกลยุทธ์การสอนที่ผู้สอนจะใช้กับผู้เรียนการสร้างตัวแบบเริ่มโดยเน้นที่มาตรฐานโดยคาดหวังว่าผู้สอนจะต้องสอนให้เป็นไปตามมาตรฐานการกำหนดโครงการพัฒนาวิชาชีพจึงต้องยึดมาตรฐานตัวอย่างเช่นการใช้ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาครูครูต้องร่วมกันวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของนักเรียนทบทวนสิ่งที่นำไปปฏิบัติที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนรวมทั้งศึกษาวิจัยเนื้อหาสาระและวิธีการสอนตามความต้องการของนักเรียนสิ่งต่าง
ๆ เหล่านี้สะท้อนให้เห็นการปฏิบัติการสอนที่ดีที่สุดในชั้นเรียนที่ยึดมาตรฐานเป็นเกณฑ์
หลักการที่
4 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้หลักการสำคัญของระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐานสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ได้
ดังนี้
มาตรฐานเน้นการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนทุกคนและทุกวัย
ผู้เรียนทุกคนสรรค์สร้างการเรียนรู้ใหม่
ๆ ได้ผู้เรียนเรียนรู้จากผู้อื่นและเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้โดยการค้นคว้าและการฝึกคิดทบทวน
การประเมินผลก่อให้เกิดการตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้
หลักการที่
5 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพส่งเสริมครูให้มีบทบาทเป็นผู้นำกล่าวคือครูต้องมีภาวะความเป็นผู้นำในระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐานบทบาทผู้นำอย่างเป็นทางการของครูคือบทบาทเป็นผู้ให้คำปรึกษาครูควรเป็นผู้ตัดสินใจในการคัดเลือกทีมงานวางแผนการสอนคัดเลือกเนื้อหาโดยเน้นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนครูควรเป็นผู้นำในการกำหนดมาตรฐานกำหนดกลยุทธการสอนและการประเมินผลและวิเคราะห์ผลงานของนักเรียน
หลักการที่
6 ประสบการณ์การเรียนวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพสร้างความเชื่อมโยงกับหน่วยการศึกษาอื่นการเชื่อมโยงด้วยมาตรฐานเองวิธีการดำเนินงานที่เป็นระบบฉะนั้นองค์ประกอบและการตัดสินใจล้วนส่งผลต่อส่วนต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน
หลักการที่
7 ประสบการณ์การพัฒนาเวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพต้องประเมินและพัฒนาอย่างต่อเนื่องในระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐานความมีประสิทธิผลวัดได้จากพัฒนาการของนักเรียนความมีประสิทธิผลรวมถึงความเป็นเลิศทางวิชาการของนักเรียนทุกคนและความเสมอภาค
(ลดช่องว่างผลสัมฤทธิ์ที่แตกต่างกันระหว่างผู้เรียน)
หรือทั้งสองอย่างกระบวนการวางแผนการสอนจะต้องพิจารณาความก้าวหน้าของนักเรียนอย่างต่อเนื่องและปรับปรุงโดยใช้ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
หลักสูตรมาตรฐานแห่งชาติสู่ชั้นเรียน
(How to Use Standards in the Classroom)
การเชื่อมโยงมาตรฐานการเรียนรู้กับหลักสูตรเป็นสิ่งสำคัญการเชื่อมโยงมาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติมาตรฐานการเรียนรู้และท้องถิ่นไปสู่เป้าหมายการเรียนการสอนของนักเรียนและครู
Harris Douglas D and Curr, Judy F (1996: 18) ได้นำเสนอแผนภูมิแสดงความสอดคล้องเชื่อมโยงของหลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินแบบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ไว้ดังแผนภาพประกอบที่
11
ภาพประกอบที่ 11 หลักสูตรมาตรฐานแห่งชาติสู่ชั้นเรียน
ที่มา Haris,
Douglas E and Car, Judy F (1996) หลักสูตรมาตรฐานแห่งชาติสู่ชั้นเรียน
จากแผนภาพประกอบที่ 11 สรุปได้ว่า
กรอบหลักสูตรมลรัฐเชื่อมโยงและสะท้อนสิ่งที่พึงประสงค์ในมาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติ
หลักสูตรและการประเมินระดับท้องถิ่นและโรงเรียนสะท้อนถึงมาตรฐานที่กำหนดในกรอบหลักสูตรมลรัฐ
กิจกรรมการเรียนการสอนและหน่วยการเรียนเชื่อมโยงและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้มลรัฐหลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาในขณะเดียวกันก็ต้องสนองตอบความสนใจและความต้องการของนักเรียนและชุมชนด้วยเหตุผลดังกล่าวกิจกรรมการเรียนการสอนและหน่วยการเรียนจึงควรสร้างจากแหล่งข้อมูลของท้องถิ่นหรือเหตุการณ์ประเด็นปัญหาต่าง
ๆ ในท้องถิ่นการประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งในระดับชั้นเรียนห้องถิ่นและมลรัฐควรใช้ข้อมูลจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักเรียนที่เกิดขึ้นในแต่ละหน่วยการเรียนเพราะสิ่งเหล่านี้เป็นข้อมูลที่จะบอกได้อย่างดีว่าผลการเรียนของนักเรียนถึงมาตรฐานหรือไม่
มาตรฐานสู่ความสำเร็จ:
หลักสูตรการประเมินผลและแผนปฏิบัติการ
เมื่อโรงเรียนหรือสถานศึกษาได้ใช้มาตรฐานใดแล้วทุกคนทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องเข้าใจว่ามาตรฐานของโรงเรียนคืออะไรและจะนำไปใช้อย่างไรคณะกรรมการสถานศึกษาจะต้องใช้แผนการประเมินที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนสำคัญคือการประเมินสภาพปัจจุบันของหลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินที่สอดคล้องกับมาตรฐานการได้ข้อมูลว่ามาตรฐานใดบ้างที่จะนำมาจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลและนักเรียนจะบรรลุมาตรฐานตามที่ระบุไว้ในวิสัยทัศน์นั้นจะต้องเตรียมวิธีปฏิบัติกระบวนการและหลักสูตรการเรียนการสอนต่าง
ๆ ให้พร้อมการตัดสินใจว่าจะสอนและประเมินมาตรฐานใดจะสอนมาตรฐานดังกล่าวในระดับชั้นใดรายวิชาใดสิ่งเหล่านี้คณะกรรมการวิชาการจะต้องกำหนดขอบข่ายโดยใช้ฐานข้อมูลว่าใครจะสอนและประเมินมาตรฐานใดและจำเป็นต้องมีการทบทวนแผนว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้หมาะสมหรือไม่จุดเน้นของหลักสูตรสถานศึกษาเป็นการปฏิบัติตามมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้คำถามเดิมที่ว่าใครสอนหัวข้อใดหรือครูจะใช้สื่อการสอนอะไรจะถูกปรับเปลี่ยนเป็นใครสอนมาตรฐานอะไรการเรียนการสอนใช้รูปแบบใดและใครประเมินมาตรฐานไตโดยวิธีใด
เป็นต้น
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและแผนการประเมิน
Carr, Judy F and Harris, Douglas E (2001: 45 49) เสนอคำถามที่เกี่ยวข้องคือจะสร้างการประเมินระดับชั้นเรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานอย่างไรซึ่งการประเมินชั้นเรียนไม่ได้เป็นเพียงการทดสอบการวัดหรือการให้คะแนนแต่การประเมินเป็นบูรณาการของการสอนเป็นกระบวนการของการวัดปริมาณการอธิบายการรวบรวมข้อมูลหรือการให้ผลป้อนกับเกี่ยวกับการเรียนรู้เพื่อให้รู้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจุดมุ่งหมายเบื้องต้นของการประเมินชั้นเรียนโดยใช้มาตรฐานเป็นฐานคือบอกให้รู้เกี่ยวกับการสอนและการปรับปรุงการเรียนรู้ยิ่งไปกว่านั้นการประเมินยังสะท้อนสิ่งต่างๆ
ดังนี้
ให้แนวทางเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงและการปรับปรุงการศึกษา
ชี้ให้เห็นความสำเร็จของนักเรียนแต่ละคนหลักสูตรเฉพาะและการปฏิบัติในสถานศึกษา
ชี้ให้เห็นว่านักเรียนมีความรู้และทักษะแบบบูรณาการตลอดหลักสูตรหรือไม่
เสนอวิธีการและข้อมูลเพื่อสื่อถึงผลการประเมินอย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินประสิทธิผลของชั้นเรียนต้องกระทำอย่างต่อเนื่องและสัมพันธ์กับการเรียนรู้ในขณะนั้นรวมทั้งมีลักษณะรวบยอด
(แต่ละองค์ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของระบบทั้งหมดคำนึงถึงความต้องการของผู้เรียนกลุ่มต่างๆและคำนึงถึงจุดดีและปัญหาต่าง
ๆ ของนักเรียน) ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากหลักสูตรเดียวกันหรือข้ามหลักสูตร
มีลักษณะหลากหลาย
(หลากหลายแงมุมและยืดหยุ่นได้
เหมาะสมทั้งด้านพัฒนาการและล้านวัฒนธรรมคำนึงถึงรูปแบบการเรียนรู้และพหุปัญญาให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน
เชื่อถือได้เชิงเทคนิค
(มีความต่อเนื่องและกระทำติดต่อกันแม่นตรงและเชื่อถือได้และรายงานอย่างถูกต้อง)
การวางแผนการประเมินต้องมองในมุมกว้างแผนการประเมินคือเครื่องมือออกแบบหรือชุดของต้นเดือนที่คำนึงถึงว่าการเรียนรู้ของนักเรียนจะได้รับการประเมินให้สัมพันธ์กับมาตรฐานได้อย่างไรการใช้แผนการประเมินนี้ทำให้มั่นใจได้ว่า
ผลป้อนกลับจากการน่าแผนการประเมินไปใช้จะชี้แนะกระบวนการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงการเรียนการสอน
นักเรียนมีโอกาสหลากหลายที่จะแสดงผลสำเร็จตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
นักเรียนให้คำตอบที่สรรค์สร้างเองได้หลายแบบเช่นผลงาน
(รายงานที่เขียนภาพหุ่นจำลองแผนที่และการปฏิบัติกิจกรรมการสืบค้นการสัมภาษณ์การแสดงละคร)
การตอบสนองของนักเรียนหลายแบบบอกให้รู้พหุปัญญาเเละจุดแข็งต่าง ๆ
ของนักเรียนแต่ละคนการประเมินด้วยคำตอบแบบเลือกตอบและการตอบแบบสั้นมักเป็นส่วนหนึ่งของแผนการประเมินนี้
แนวการให้คะแนนแบบต่าง ๆ
ใช้เพื่อกำหนดผลป้อนกลับด้านการเรียนรู้ของนักเรียน
การประกันคุณภาพการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542 มาตรา 48 “ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
”
การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้ได้มาตรฐานทั้งในระดับอุดมศึกษาและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งแนวคิดที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
1.
การประกันคุณภาพเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
(ASEAN Cooperation Initiative in Quality Assurance)
การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสร้างมาตรฐานและเสริมสร้างคุณภาพการศึกษาของหลักสูตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับในอาเซียน
(AUN Quality Assurance-AUN-QA) ที่ตระหนักถึงความสำคัญของประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาและความจำเป็นในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพแบบองค์รวมเพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาให้แก่มหาวิทยาลัยในเครือข่าย
AUN เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University
Network-AUN) ซึ่งระบบประกันคุณภาพการศึกษาในอาเซียน (AUN
Quality Assurance-AUN-QA) เป็นกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาและสร้างมาตรฐานการอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยสมาชิกให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันการรับรองมาตรฐานระดับหลักสูตรจะเริ่มต้นจากความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและนำมากำหนดไว้ในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดว่าจะได้รับซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนหลักสูตรการรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับหลักสูตรตามเกณฑ์
ASEAN University Network Quality Assurance: AUN-QA โดยมีเกณฑ์พิจารณา
11 หมวด ได้แก่
1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้
2. ข้อกำหนดหลักสูตร
3. โครงสร้างหลักสูตรและเนื้อหา
4. แนวทางการสอนและการเรียนรู้
5. การประเมินผลนักศึกษา
6. คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ
7. คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน
8. คุณภาพของนักศึกษาและการสนับสนุน
9. สิ่งอำนวยความสะดวกและกร4สร้างพื้นฐาน
10. การเพิ่มคุณภาพ
11. ผลผลิต
มหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN ได้มีการนำเกณฑ์ดังกล่าวมาใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร
(AUN-QA Assessment) โดยหลักสูตรที่มีความพร้อมมหาวิทยาลัยจะยืนขอรับรองโดย
AUN-QA ต่อไป
ภาพประกอบที่
12 ความสัมพันธ์องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ Learning
ที่มา http: / /
academic. swu. ac. th / Portals / 431105. Pdf
2. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักทดสอบทางการศึกษากรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ
(2545) ได้ศึกษาและพัฒนากันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากผลการศึกษากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเป็นกฎกระทรวงกำหนดระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ
4. มาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและเอกสารการดำเนินงานตามระบบดังกล่าว
ได้แก่
1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา:
2. แนวทางการจัดทำระบบสารสนเทศสถานศึกษา
3. แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
4. แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
5. แนวทางการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายในของสถานศึกษา
6. แนวทางการรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา
7. แนวทางการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยเขตพื้นที่การศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา:
กรอบและแนวการดำเนินงานเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ดังภาพประกอบที่ 13
ภาพประกอบที่ 13 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มา
(กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ 2545: 3)
3. การประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอก
คือ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซึ่ง
กระทำโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.)
หรือผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากโดยกายนอกที่ได้รับการรับรองจาก สมศ.
เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
ความสำคัญของการประเมินคุณภาพภาย
นอกการประเมินคุณภาพภายนอกมีความสำคัญและมีความหมายต่อสถานศึกษาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนดังต่อไปนี้
(สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน),
2550)
1. เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานและพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
2. เพิ่มความมั่นใจและคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษาให้มั่นใจได้ว่าสถานศึกษาจัดการศึกษามุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนเป็น-คนดีมีความสามารถและมีความสุขเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
3. สถานศึกษาและหน่วยงานที่กำกับดูแลเช่นคณะกรรมการสถานศึกษาหน่วยงานต้นสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนท้องถิ่นมีข้อมูลที่จะช่วยตัดสินใจในการวางแผนและดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายมีข้อมูลสำคัญในภาพรวมเกี่ยวกับคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายทางการศึกษาและการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) http: / / www. onesqa. or. th / th / index. php กำหนดหลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอกซึ่งมีหลักการสำคัญ
5 ประการ ดังต่อไปนี้
1) เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการตัดสินการจับผิดหรือการให้คุณให้โทษ
2) ยึดหลักความเที่ยงตรงเป็นธรรมโปร่งใสมีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง (evidence-based)
และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability)
3) มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะอักยาณมิตรมากกว่านรกควบคุม
4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
5) มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.
ศ. 2542 ให้เอกภาพเชิงนโยบายแต่ยังคงมีความหลากหลายในทางปฏิบัติโดยสถาบันสามารกกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอกมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 2550)
1. เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด
2. เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งจะช่วยสะท้อนให้เห็นจุดเด่นจุดที่คารพัฒนาของสถานศึกษาสาเหตุของปัญหาและเงื่อนไขของความสำเร็จ
3. เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกบ
1 และหน่วยงานต้นสังกัด
4. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในยางต่อเนื่อง
5. เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษหน่วยงานเกี่ยวข้องและสาธารณชน
ผู้ประเมินภายนอก หมายถึง บุคคลหรือหน่วยงานที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดและได้รับ012รับรองจากสมศ. ให้ทำการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานการศึกษา คือ ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์และเป็นเป้าหมายต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่งเพื่อให้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสร
"ตรวจสอบประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษาองศาหรับการส่งเสริมก็เป็นดูแล
4. 4. การประเมินคุณภาพภายใน
Clark (2005: 2)
กล่าวว่าการปเป็นวิธีการประเมินที่นำไปใช้ประเมินเน้นที่กระบวนการ
(process) ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอนเพื่อให้จะเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนประเมินที่นำไปใช้ในการตัดสินคุณค่าของโปรแกรมการเรียนการ
2) กล่าวว่าการประเมินคุณภาพภายในโปรแกรมการเรียนการสอน internal e สินคณค่าของโปรแกรมการเรียนการสอนในระหว่างดำหนินการการเรียน
(process) การประเมินคุณภาพภายในมีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบแก้ไขและแผนการสอนเพื่อให้เกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้นเมื่อนำไปใช้กับผู้เรียนโดยทั่วไปในการประเป็นข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนโดยกำหนดจุดมุ่งหมายคือการจัดการเรียนรู้นั้นหรือการเรียนนั้นประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่ข้อมูลต้องถูกเก็บรวบรวมอย่างต่อเนื่องเพื่อตรวจสอบว่าการสอนนั้นประสบจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนนั้นพัฒนาผู้เรียนได้จริงถ้าพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหาในการเรียนการสอนคล้าย
ๆ กันอาจสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้หรือเรียนการสอนนั้นมีบางอย่างที่ไม่เป็นไปตามลอบ่งหมายดังนั้นการประเมินคุณภาพภายในเป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงดำเนินการได้ทันท่วงทีการประเมินนี้จึงมีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอนเทมพ์
(Kemp: 1971) เสนอแนะการประเมินไว้ดังนี้
1. ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในระดับที่เป็นที่ยอมรับตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ผู้เรียนมีข้อบกพร่องใดบ้าง
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ความรู้หรือทักษะในระดับที่เป็นที่ยอมรับหรือไม่ผู้เรียนมีข้อบกพร่องใดบ้าง
3.ผู้เรียนใช้เวลานานเพียงใดเพื่อให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้และเป็นที่ยอมรับของผู้สอนอย่างหรือไม่
4. กิจกรรมต่าง ๆ
เหมาะสมสำหรับผู้เรียนและผู้สอนหรือไม่
5. วัสดุต่าง ๆ
สะดวกและง่ายต่อการติดตั้งการหยิบการใช้หรือการเก็บรักษาหรือไม่
6. ผู้เรียนมีปฏิกิริยาต่อวิธีการเรียนการสอนกิจกรรมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้และวิธีการประเมินผลอย่างไรบ้างตนเองและข้อสอบหลังจากเรียนแล้วให้วัดจุดมุ่งหมายของการเรียน
7. ข้อสอบเพื่อการประเมินตนเองและข้อสอบได้หรือไม่ปรุงแก้ไขโปรแกรมในส่วนใดบ้าง
(เนื้อหารูปแบบและอื่น ๆ )
การประเมินภายนอก
Claurk (2005: 1) กล่าวว่าว่าการประเมินคุณภาพภายนอก
(External evaluation) เป็นการประเมินภายนอกหลังการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการเรียนการสอนเพื่อนำผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินโปรแกรมการเรียนการสอนให้ความสำคัญที่ผลลัพธ์
(outcome) โดยสรุปการประเมินเพื่อศึกษาประสิของระบบโดยรวมเป็นการประเมินที่มุ่งตอบคำถามว่าการเรียนรู้หรือการจัดการเรียนการสอนความสำเร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ผู้เรียนบรรลุจุดหมายและจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ผลการมีประสิทธิภาพหรือไม่การออกแบบการเรียนการสอนตลอดกระบวนการมีขั้นตอนใคที่ไม่เป็นไ..
ขั้นตอนบ้างเพื่อนำไปเป็นข้อมูลสำหรับผู้ออกแบบการเรียนการสอนได้พัฒนาต่อไป (Kemp. 1971 เสนอแนะแนวคิดการประเมินไว้ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายทั้งหมดได้รับการบรรลุผลในระดับใดบ้าง
2. หลังจากการเรียนการสอนผ่านไปแล้วการปฏิบัติงานของผู้เรียนเกี่ยวกับการใช้ความรู้ทักษะและการสร้างเจตคติมีความเหมาะสมหรือไม่หรือการจัดการเรียนการสอนประสบการเรียนรู้หรือไม่ผลการดำเนินการ
3. การใช้วัสดุต่าง ๆ ง่ายต่อการจัดการสำหรับผู้เรียนจำนวนมาก
ๆ หรือไม่
4. สิ่งอำนวยความสะดวกกำหนดการและการนิเทศมีความเหมาะสมกับโปรแกรมหรือไม่
5. มีการระวังรักษาการหยิบการใช้เครื่องมือและวัสดุต่าง ๆ หรือไม่
6. วัสดุต่าง ๆ ที่เคยใช้แล้วถูกนำมาใช้อีกหรือไม่
7. ผู้เรียนมีเจตคติอย่างไรบ้างต่อวิชาที่เรียนวิธีการสอนกิจกรรมและเที่ยวกับความสัมพันธ์ที่มีต่อผู้สอนและผู้เรียนคนอื่น
ๆ
การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
The SOLO taxonomy
The SOLO taxonomy เป็นการจัดระดับเพื่อประโยชน์ในการแสดงคณสมบัติเฉพาะ
ๆกันของตำถามและคำตอบที่คาดว่าจะได้รับจากผู้เรียนเป็นของเกณฑ์การประเมินผลกาผลงานของ
Bigeye and Collis (1982). "SOLO, มาจากคำว่า Structure of observed Learn ระบบที่นำมาช่วยอธิบายว่าผู้เรียนมีพัฒนาการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไรในการเรียนเพื่อรอบรู้หลากหลายของภาระงานทางวิชาการโดยที่นิยามจุดประสงค์ของหลักสูตรในสภาพที่พึงประสง"
ปฏิบัติเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริงการใช้ SOLO Taxonomy ในการกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
Solo Taxonomy คือ สอนและการให้คะแนนตาผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้สิ่งที่สำคัญประการการกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งไม่มุ่งเน้นเฉพาะการผลงานเท่านั้น
แต่ SOLO Taxonomy เป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญว่าเข้าสิ่งที่สำคัญประการหนึ่งคือครูจะมีวิธีสอนอย่างไรที่ผู้เรียนได้ใช้ปัญญาที่มีความ
Cality (1982).มาจากคำว่าtกรแองเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นผลงานของ
Bigg สาหdจะก่อให้เกิดพัฒนาการมากขึ้น
SOLO Taxonorry ได้รับการเสนอโดย
The SOLO taxonomy เป็นชุดของเกณฑ์การประเมินผลการ 0 มาจากคำว่า Structure of Observed Learning Outcome, เป็นระบบที่นำมาช่วยอธิบาย
4.
นมการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไรในการเรียนเพื่อรอบรู้ที่มีความหลากหลายของภาระงานทางวิชาการโดยที่นิยามจุดประสงค์ของหลักสูตรในสภาพที่พึงประสงค์ของการปฏิบัติเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริง
การใช้ SOLO taxonomy จะช่วยให้ทั้งครูและผู้เรียนตระหนักถึงองค์ประกอบที่หลากหลายจากหลักสตรได้อย่างแจ่มชัดขึ้นแนวคิดดังกล่าวถูกนำไปกำหนดเป็นนโยบายใช้ในการประเมินในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาหลายแห่งสืบเนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้ในหลายสาขาวิชาการประเมินความสามารถในการปฏิบัติของผู้เรียนอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาผู้เรียนในแง่ของความเข้าใจที่ซับซ้อนซึ่งความเข้าใจดังกล่าวแบ่งได้เป็น
5 ระดับ (1) ระดับโครงสร้างขั้นพื้นฐาน (Pre-structurnal)
(2)
ระดับโครงสร้างเดียว (Uni-structural) (3)
ระดับโครงสร้างหลากหลาย (Multi-structural) (14)
ระดับความสัมพันธ์ของเทวงสราง (Relational
Level) และ (5) ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย (Extended Abstract Level)
โครงสร้างการสังเกตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Biggs และ Collis แสนอวิธีการไว้คงต่อไปนTาหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ผู้เรียนปฏิบัติในบทเรียน (To set learning objectives approprials to wors Studerit should be
at a particular stage of the To assess the learning outconnes a หากริยาที่นำมาใช้เพื่อการประเมินมีความถูกต้องเหมาะสมในแค
at a particular Stage of their program) และ2)
ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน 21nE outcomes
atrained by each studert) เมื่อเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ต้องมั่นใจว่าะเมินมีความถูกต้องเหมาะสมในแต่ละระดับ
ระดับความสัมพันธ์ของความ•ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
(Refational
Level) ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์เกี่ยวโยงของข้อมูลได้ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูลและภาพรวมทั้งหมด
ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย
(Extended Abstract I เชื่อมโยงข้อมูลนอกเหนือจากหัวข้อเรื่องที่ได้รับผู้เรียนสามารถสรุปและส่งผ่านความสำคัญอยู่ภายใต้กรณีตัวอย่าง
ตารางที่ 24 การจัดระดับ SOLO Taxonomy คำถามและการตอบสนองที่คาดหวังจากผู้เรียน
การจัดระดับ SOLO
|
คำถามและการตอบสนองที่คาดหวังจากผู้เรียนระดับโครงสร้างขั้นพื้นฐานผู้เรียน
|
โครงสร้างเดียว (Uni-structural level)
|
ผู้เรียนเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานง่ายต่อการเข้าใจ
แสดงความหมายของความเกี่ยวโยงของข้อมูล
|
ระดับโครงสร้างหลากหลาย(Multi-structural level)
|
ผู้เรียนเชื่อมโยงข้อมูลหลายๆชนิดเข้าด้วยกัน
(Multi-structural
level) ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างความเกี่ยวโยงของข้อมูลไม่ปรากฏ
|
ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง(Relational Level)
|
ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูลได้และภาพรวมทั้งหมดได้นักเรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูล
|
ระดับความต่อเนื่องภาคขยาย (Extended Abstract Level)
|
นักเรียนเชื่อมโยงข้อมูลนอกเหนือจากหัวข้อเรื่องที่ได้รับผู้เรียนสามารถสรุปและส่งผ่านความสำคัญและแนวคิดที่ซ่อนอยู่ภายใต้กรณีตัวอย่าง
|
เพื่อความเข้าใจและการนำมโนทัศน์ SOLO Taxonomy ไปใช้ บิกส์ได้สรุปไว้ดังตาราง
25
ตารางที่ 25 ระดับของความเข้าใจระยะของการเรียนรู้และทำกิริยาที่ใช้
ระดับขององความเข้าใจที่นักเรียนแสดงออกในการเรียนรู้
|
ระยะของการเรียนรู้
(Phase of learning)
|
คำกิริยาที่ใช้
(Indicative Vertis)-
|
ระดับความต่อเนื่องภุขยาย
(Extended Abstract)
-สามารถสร้างเป็นความคิดเชิงมโนทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรียนได้
-สามารถสรุปอ้างอิง (generalize) ไปยังเนื้อหาใหม่
ๆ ได้
|
ระยะเชิงคุณภาพ
(Qualitative Phase)
ลักษณะ /
พฤติกรรมของการตอบสนองจากการเรียนรู้ของนักเรียนมีการบูรณาการ integrated) สู่แบบแผนเชิงโครงสร้าง
structural pattern)-
|
-สร้างทฤษฎี (theories)
-สรุปอ้างอิง (generalize)-ตั้งสมมติฐาน hypothesis)
-สะท้อน (reflect)
-สร้างขึ้น (generate)
|
ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง (Relational Level)
-พฤติกรรมที่แสดงออกชี้ให้เห็นถึงการจัดการระหว่างความจริงและทฤษฎีพฤติกรรมและจุดมุ่งหมาย
-มีความเข้าใจในหลาย ๆ
เนื้อหาองค์ประกอบย่อย ๆ ซึ่งสามารถบูรณาการมาเป็นมโนทัศ
|
-เปรียบเทียบระบุความแตกต่าง (compare / contrast)
-อธิบายเชิงเหตุผล
(explain cause)-integrate)
-วิเคราะห์ (analyse)
-แสดงความสัมพันธ์ (relate)
-นำไปใช้
(apply)
|
ทั้งนี้เพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิด“ การสอบคล้ายกับ
"ก1ปรับเปลี่ยน1กความพแรงจูงใจ (reactivation) และแนวทางในการเรียนรู้
(Lituitid utility) ที่เป็นเครื่องมือในสอนของครูผู้สอน
การจัดลำต้นขั้นของจุดประสงค์การเรียนรู้ของบลูม (Bloom 1956
) เมื่อนำมาสัมพันธ์กับแนวคิด
SOLO Taxonomy) ของ Biggs &
Collis 1982)
SOLO 1 และ 2
สอดคล้องกับแนวคิดของบลูมในขั้นความรู้ (จำ) กามเข้าใจเลยข้อมูลเชิงปริมาณ
SOLO 3 และ 4 สอดคล้องกับแนวคิดของบลูมในขั้นการวิเคราะห์สังเคราะห์เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพตัวอย่างการกำหนดค่าระดับคุณภาพการเขียนแผนจัดการเรียนรู้
ระดับ SOLO 1
หมายถึงการเลียนแบบและคงไว้ซึ่งขยงเติม (Initutive
Maintenuatue) การเขียนแผนจะยึดตำราเป็นหลักทำแบบฝึกหัดตามหนังสือจัดกิจกรรมซ้ำ ๆเติมใช้สื่ออุปกรณ์สำเร็จรูปให้มีการประเมินการใช้จริง
ระดับ SOLO 2
หมายถึงการปรับประยุกต์ใช้ (meditative) การนำแผนการสอนที่มีอยู่ให้ดีขึ้นมีการบูรณาการเนื้อหาให้สอดคล้องกับโลกแห่งความเป็นจริง
(real world) มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาเล็กน้อยคำนึงสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้เน้นทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติ
ระดับ SOLO 3
หมายถึงการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Creative-tenerative)
การเขียนแผนที่หนึงถึงพฤติกรรมใหม่
ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้จะเขียนแผนแนวทางมหภาคใช้ผลงานการวิจัยประกอบการสอนเน้นมโนทัศน์ของวิชานั้น
ๆและบูรณาการแบบข้ามกลุ่มสาระ
| การแปลความหมายของค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย 1. 00 – 1. 49
หมายความว่ามีความสามารถในการเขียนแผนและการน้าแผนจัดการเรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบ The STUDIES Model ระดับต่ำปรับปรุง
ค่าเฉลี่ย 1. 50 2. 49
หมายความว่ามีความสามารถในการเขียนแผนและการทำแผนที่เรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบ The STUDIES Model ระดับปานกลางพอใช้ |
ค่าเฉลี่ย 2.
50 3. 00
หมายความว่ามีความสามารถในการเขียนแผนและการทำแผนที่เรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบ The STUDIES Model ระดับสูงที่
สรุป
การประเมินอิงมาตรฐานระดับที่มีความสำคัญที่สุดคือ การจัดการเรียนรู้หรือการเรียนกนั้นประสบผลสำเร็จโดยดูจากผู้เรียนมีความรู้และทักษะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
กล่าวผมเกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธิผลระดับใดอีกประเด็นหนึ่งคือการจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการคนที่ช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ได้โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดกล่าวได้ว่าการจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพระดับใดการประเมินคุณภาพภายในเป็นการประเมินให้ความสำคัญที่กระบวนการ
(process) การประเมินคุณภาพภายในเป็นการประเมินในระหว่างจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนมีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้และปรับปรุงสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนส่วนการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นการประเมินที่มุ่งตอบคำถามว่าการจัดการเรียนการสอนประสบความสำเร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่หลักสูตรกำหนดไว้หรือไม่คำถามหลักคือผู้เรียนสามารถขั้นตอนใดที่มีปัญหาอุปสรรคเพื่อนำไปมหลักคือผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานหลังจากการเรียนการสอนได้หรือไม่กระบวนการมีปัญหาอุปสรรคเพื่อนำไปเป็นข้อมูลสำคัญสำหรับผู้บริหารได้พัฒนาในโอกาสต่อไป
ตรวจสอบและทบทวน
ในการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ขั้น
การประเมินการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ปฏิบัติการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ด้วยการเขียนระดับคุณภาพของผลการเรียนรู้
(rubrics) ซึ่งอาจใช้แนวทางการกำหนดระดับคุณภาพของรถบะตามแนวคิด
SOLO Taxonomy การเรียนรู้อย่างลุ่มลึกไม่ใช่เรียนแบบผิวเผินหรือแนวทางอื่น
ๆ