อัธยาตมวิทยา : ความรูทีเกี่ยวกับจิตใจของคน
นิรมล ตีรณสาร
สวัสดิบุตร (2548 : 7-8) ได้กล่าวไว้ว่า หนังสือ อัธยาตมวิทยา (อ่านว่า อัด-ทะ-
ยาต-ตะ-มะ-วิด-ทะ-ยา) หมายถึง ความรู้ที่เกี่ยวกับจิตใจของคน ซึ่งเป็นความรู้ที่ให้เป็นครูจำเป็นต้องรู้
เพราะ
ทำงานกับคน เป็นตำราวิชาครูของกรมศึกษาธิการ ที่เขียนโดยขุนจรัสชวนะพันธ์เสารท
สุทธเสถียร) พิมพ์
เผยแพร่ในปี ร.ศ.125 (พ.ศ.2449)
อาจารย์ผู้สอนวิชาจิตวิทยาการศึกษาในสถาบันผลิตครูยิ่งควรอ่าน และเชิญ
ชวนให้นิสิต นักศึกษาอ่านด้วย และเสนอแนวคิดเพิ่มเติมว่า ในการเขียนตำรา
ควรอ่านแล้าปรับปรุงตำรา ให้
ทันสมัยเเปลี่ยนเเปลงให้หมาะสม
พยายามให้ได้ใจความและเลือกสรรเฉพาะเรองที่จำเป็นสำหรับครูจริง ๆ
ตลอดจนการใช้วรเขียนและภาษาทีเข้าใจงายเช่นเดียวกับตำราอัธยาตมวิทยาแสดงตัวอย่างไว้หนังสืออัธยาตมวิทยา
แบ่งเป็นตอนใหญ่ๆ 10 ตอน คือ
1. วิทยาศาสตร์แห่วร่างกายและวิทยาศาสตร์แห่งจิตใจซึ่งเน้นว่าครูที่ดีจะต้องรู้อาการของจิตใจนักเรียนให้ละเอียดเหมือนแพทย์ที่ที่ต้องรู้อาการของร่างกายคนไข้
2
ลักษณะทั้งสามของจิตใจ (ความกระเทือนใจความรู้ความตั้งใจ)
มีการแบ่งชั้นของความเจริญของจิตใจไว้ 3 ชั้น คืออายุ 17
ปี 7-14 ปีและ 14 23 ปีซึ่งเป็นช่วงอายุของตนที่ที่เป็นลูกศิษย์ของครูอาจารย์
3.
ความสนใจมีสองชนิดคือที่เกิดขึ้นเองและที่ต้องทำให้เกิดขึ้น
4.
ความพิจารณามีการเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจนว่าเด็กในกรุงเทพฯกับเด็กบ้านนอกมีความพิจารณาต่างกันอย่างไรและครูของเด็กทั้งสองพวกนี้ควรส่งเสริมเด็กต่างกันอย่างไรนอกจากนี้ยังมีข้อแนะนำที่น่าสนใจสำหรับครูในการสอนวิชาต่าง
ๆ เช่นกับศาสตร์แพทย์พงศาวดารการเขียนลายมือและวาดรูป
5.
ความเจริญของอาการทั้งห้ารู้สึกเห็นทั้งชิมดม)
มีบารกล่าวถึงหน้าที่ของครูในการหัดอาการทั้ง 5 และบอกวิธีหัดอาการบางชนิดไว้ด้วยเช่น
หัดให้รู้จักพัดให้รู้จักรูปหัดให้รู้จักหนทางไกลการวัดการคาดคะเน) หัดให้เข้ารูปด้วยอาการสัมผัส
หัดอาการฟังด้วยการอ่าน-ด้วยเพลงหัดอาการดมและอาการชิม
6.
ความจำ มีเรื่องลืมสนิทและลืมไม่สนิทจำได้และนึกออกชนิดของความจำและเรื่องที่ครูควรอ่านเป็นอย่างยิ่งคือสิ่งที่ครูควรถือเป็นหลักในเวลาที่จะให้นักเรียนจำสิ่งที่ควรให้นักเรียนท่องขึ้นใจและสิ่งที่ไม่ควรให้นักเรียนท่อง
7. ความคิดคำนึ่งวิธีฝึกหัดความคิดคำนึงให้ดีขึ้นมีการเสนอว่าบทเรียนที่ช่วยฝึกหัดความคิดคำนึงของเด็กได้ดีที่สุดคือพงศาวดารและภูมิศาสตร์และแม้แต่หนังสือเรื่องยักษ์หรือผีสางเทวดาที่ผู้ใหญ่เห็นว่าไร้สาระที่ช่วยหัดให้เด็กมีความคิดคำนึ่งได้
8.
ความตกลงใจเกิดจากอาการ 2 อย่างคือการเปรียบเทียบและการลงความเห็นมีตัวอย่างบทเรียนที่ช่วยฝึกหัดความตกลงใจเช่นการเขียนหนังสือและวาดรูปบทเรียนสำหรับพัดมือ
(พับ ตัด ปั้น) การกระจายประโยคตามตำราป่วยกรณ์เลขการเล่นออกแรง
9. ความวิเคราะห์มีการแสดงตัวอย่างวิธีสอน 2 แบบคือ แบบ “ คิดค้น” (induction)
และแบบ“ ติดสอบ” (deduction) มีการเปรียบเทียบให้ดูว่าติดค้นกับคิดสอบต่างกันอย่างไรและมีประโยชน์แก่การศึกษาต่างกันอย่างไรครูจะได้เลือกว่าเมื่อใดควรให้นักเรียนคิดค้นเมื่อใดให้คิดสอบและมีตัวอย่างวิธีสอนเรื่องกริยาวิเศษณ์ที่แสดงขั้นตอนการสอนให้ดู
11 ขั้นตอนซึ่งเป็นการคิดค้นแล้วต่อด้วยอีก 2 ขั้นตอนซึ่งเป็นการติดสอบการใช้วิธีสอนรวมกันทั้งคิดค้นและคิดสอบเช่นนี้ท่านเรียกว่าวิธีสำเร็จและบอกว่าเป็นวิธีที่ดีกว่าวิธีอื่น
ๆ
10. ความเข้าใจมีการให้ตัวอย่างคำจำกัดความลักษณะแห่งความเข้าใจและนอกวิธีสอนที่จะทำให้เด็กเข้าใจได้ดีซึ่งเป็นสิ่งที่ครูทุกคนปรารถนา
วิชาอัธยาตมวิทยาต่อมาเป็นวิชาจิตวิทยาในหลักสูตรผลิตครูในหลายสถาบัน
คือ เรียนรู้หลักวิชาจิตวิทยาที่จะเป็นประโยชน์ในการเรียนการสอน (จรัส ชวนะพันธ์ (สารท สุทธเสถียร) ชุน (2548)
นนทบุรี:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช)