สรุปองค์ความรู้สัปดาห์ที่ 3

จุดหมายการเรียน
                  จุดหมายหมายการเรียนรู้ (learning Goals ) ความปรารถนาอยากเรียนรู้ ความปรารถนาอาจมาจากบุคคล ประสบการณ์สถานการณ์พิเศษหรืออื่นๆ David Henry Feldman (อ้างถึงในอารี สัณหฉวี 2546 : 140 อารี สัณหฉวี ผู้แปลงความเก่ง 7ชนิด ค้นหาและพัฒนาพหุปัญญาในตน กรุงเทพ :โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) ศาสตราจารย์สาขาจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยทัฟต์ เรียก สิ่งทีจุดประกายความปรารถนาที่จะเรียนรู้นี้ว่า ประสบการณ์ตกผลึก

จุดมุ่งหมายการศึกษาของบลูม 
                  Bloom และคณะ(1956 ) ได้จักกลุ่มการเรียนรู้ออกเป็นสามประเภท คือ ด้าน พุทธพิสัย ด้านทักษะ พิสัย และด้านพิสัย พุทธสัยรวมถึงการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะพิสัยรวมถึงการพัฒนาเสรี ทางกายและทักษะทีต้องการใช้กล้ามเนื้อสัมพันธ์กับประสาทจิตพิสัยเกี่ยวข้องกับการได้มาซึ่งเจตคติความซาบซึ้งและค่านิยม การเรียนให้สามประการนี้ควรได้รับการพิจารณาในการวางแผนผลที่จากการเรียนรู้ทีได้จากการเรียนการสอน 


การปรับปรุงจุดมุ่งหมายการศึกษาของบลูม
การปรับปรุงอนุกรมวิธานจุดมุ่งหมายทางศึกษา ที่กล่าวถึงมิติทางการเรียนรู้ของ Bloom และคณะซึ่งแอนเดอร์สันและแครธโธล ได้กล่าวถึงรายละเอียดของพฤติกรรมผู้เรียนและผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยจำแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) มิติด้านกระบวนการทางปัญญา และ 2) มิติด้านความรู  มิติด้านกระบวนการทางปัญญา ได้แก่ การจำเรียกความรู้จากหน่วยความจำระยะยาว ความเข้าใจ 

จุดม่งหมายการศึกษาของมาร์ซาโน
             แนวคิดการกำหนดวัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานของกระบวนการคิดร่วมกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการคิดของผู้เรียน ซึ่งมิติใหม่ทางการศึกษาที่มาร์ซาร์โน พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 3 ระบบ ได้แก่ 1.ระบบที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อในตนเองในการปฏิบัติภาระงานชิ้นงานด้วยความเต็มใจตั้งใจมีความสุข 2.ระบบการควบคุมตนเองให้ปฏิบัติภาระงานชิ้นงาน ที่เกิดขึ้นให้บรรลุผล 3. กระบวนการทางปัญญา ที่จะปฏิบัติภาระงานชิ้นงานสำเร็จลุล่วงไปได้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบนำตนเอง

จุดมุ่งหมายการศึกษาอิงมาตรฐาน
1.       องค์ความรู้ที่สำคัญ (essential knowledge) ระบุถึงแนวความคิด ประเด็นปัญหา ทางเลือก กฎเกณฑ์ และความคิดรวบยอดในวิทยาการต่าง ๆ
2.       ทักษะ (Skills) เป็นวิธีการคิด การทำงาน การสื่อสาร และการศึกษาสำรวจ

3.      พัฒนาการทางจิตใจ (Hadits of mind) การเรียนรู้และประสบการณ์จากการศึกษาทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน มีผลต่อพัฒนาการด้านจิตใจของผู้เรียน

การวางแผนจดการเรียนการสอนและการเรียนรู้
              มุ่งเน้นการให้ความรู้ที่ลึกซึ้ง ช่วยให้ผู้เรียนรู้สึกว่ามีบทบาทในการเรียน ทำให้ผู้เรียนมีความตั้งใจในการเรียนรู้และช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียน การเรียนการสอนโดยจัดสาระและวิธีการให้ผู้เรียนอย่างดีทั้งทางด้นเนื้อหา ความรู้ และการให้ผู้เรียนใช้เวลาเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนมากที่สุด ผู้เรียนมีจิตใจจดจ่อกับสิ่งที่เรียนและช่วยให้ผู้เรียนถึง 80%  ประสบความสมเร็จในการเรียน


การเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
               มีพื้นฐานแพง ผู้เรียนแต่ละคนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุด ก็ต่อเมื่อได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบสร้างอง ด้วยตนเอง จะให้โอกาสผู้เรียนในการสร้างองค์ความรู้จากความรู้ที่มาก่อน เพื่อนําไปสู่การสร้าง ใหม่และความเข้าใจจากประสบการณ์จริง การเรียนรู้จากวิธีการนี้ ผู้เรียนจะได้รับการส่งเสริม ความเป็นไปได้ คิดวิธีแก้ปัญหา ทดสอบแนวคิดใหม่ๆ การร่วมมือกับผู้อื่

กลยุทธ์การสอนที่มีประสิทธิภาพตามแนวคิด ของ มาร์ชาโน
               การตั้งจุดมุ่งหมายจุดประสงค์ (Setting objectives) แนวทางการตั้งจุดประสงค์มีดังนี้ 1) จุดประสงค์ให้ชัดเจนตามเกณฑ์แต่ไม่ตายตัว 2) สื่อสารจุดประสงค์ให้กับผู้เรียนและครอบครัวได้เข้าใจตรงกัน 3) เชื่อมโยงจุดประสงค์การเรียนรู้กับสิ่งที่เรียนรู้เดิมและการเรียนรู้ใหม่ 4) ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตั้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง