การสานสร้างความรู้จากสังคม
Toffier
(1980) กล่าวถึงพัฒนาการทางสังคมมนุษย์จากสังคมเกษตรกรรมมาสู่สังคมอุตสาหกรรมและสังคมสารสนเทศพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศเรียกกันในช่วงแรกวา
1 จากมา (information society) ต่อมาผู้คนในสังคมที่มีปัญญาสามารถจัดการความรู้ได้สังคมสารสนเทศก็กลายเป็นสังคมฐานความรู้(Knowledge based society) การพัฒนาเทคโนโลยีไร้สายเป็นผลให้แนวทางในการจัดการศึกษาจำเป็นต้องให้สมาชิกในสังคมให้พร้อมรับสังคมฐานความรู้
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่กล่าวกันในการจัดการศึกษานั้น ต้องเกิดจากความเข้าใจผู้เรียนและสภาพแวดล้อมของผู้เรียนเพื่อสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียนและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องเช่นการจัดกระบวนการเรียนรู้สื่อในการเรียนรู้การศึกษาตามทฤษฎี
Social constructivan มีความเหมาะสมมากสำหรับสังคมสารสนเทศโดยเฉพาะสังคมฐานความรู้เนื่องจากผู้เรียนสามารถเรียนรู้เรื่องต่าง
ๆ จากแหล่งความรู้ที่หลากหลายหาก (2550) สถานศึกษาจัดสภาวะแวดล้อมให้สามารถเข้าถึงแหล่งความรู้จากเครือข่ายสารสนเทศ
สุดาพร ลักษณียนาวิน ได้เสนอกระบวนการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีการสานสร้างความรู้จากสังคม
(Social Constructivisua) ดังนี้
ตารางที่ 10 กระบวนการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้จากสังคม
ทฤษฎี
|
วิธีการเรียนการสอน
|
เครื่องมือและสภาพกายภาพ
|
การสานสร้างความรู้จากสังคม
(social constructivism)
|
การเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน
(Problem Based Learning)
การเรียนรู้แบบภาระงานเป็นฐาน
(Task Based Learning)
การเรียนรู้แบบเชิงรุก
(Active
Learning)
การเรียนรู้วิจัยเป็นฐาน
(Research
Based Learning)
การเรียนรู้แบบทีมเป็นฐาน
(Team Based Learning)
การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน
(Peer Learning)
|
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
(Computer
Assisted)
เครือข่ายออนไลน์
(Network
Environment)
วิกเทคโนโลยี
(Wiki
Technology)
ห้องเรียนไร้โต๊ะ
(Classrooms
without Desk)
การออกแบบห้องเรียนแนวใหม่
(New Classroom Design)
|
การศึกษาตามแนวทฤษฎีการสานสร้างความรู้จากสังคมหลักสูตรจะเป็นตัวกำหนดสิ่งที่จะเรียนรู้โรงเรียนและผู้สอนจะกำกับการเรียนรู้
ผู้เรียนและผู้สอนจะช่วยกันคิดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพสังคม วิธีการเรียนการสอนแบบนี้ต้องรวมพลังในการเรียนการสอน
ทั้งการเตรียมการเวลาในการต้นคว้าหาข้อมูล เวลาในการทำกิจกรรมและเวลาที่ต้องมีให้แก่กันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน
และผู้เรียนกับผู้สอนเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมการเรียนเป็นเรื่องที่ผู้เรียนเป็นผู้กำกับดูแลเอง
(autonomous
learner) ผู้เรียนเป็นผู้สานสร้างความรู้ ในบริบทของค่าถามและโจทย์ที่มีให้ตอบไม่รู้จบเครื่องมือและสภาพทางกายภาพของห้องเรียนมีการออกแบบห้องเรียน
ที่ช่วยให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสื่อ กับเพื่อน และกับผู้สอน