การเรียนการสอนตามแนวคิดการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivist Methods : CLM) มีพื้นฐานแพง
ผู้เรียนแต่ละคนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุด ก็ต่อเมื่อได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้แบบสร้างอง ด้วยตนเอง จะให้โอกาสผู้เรียนในการสร้างองค์ความรู้จากความรู้ที่มาก่อน
เพื่อนําไปสู่การสร้าง ใหม่และความเข้าใจจากประสบการณ์จริง
การเรียนรู้จากวิธีการนี้ ผู้เรียนจะได้รับการส่งเสริม ความเป็นไปได้
คิดวิธีแก้ปัญหา ทดสอบแนวคิดใหม่ๆ การร่วมมือกับผู้อื่น การคิดทบทวนท้ายที่สุดวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดที่ตนเองคิดค้นขึ้น
การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เชื่อว่า
ความรู้นั้นเป็นเรื่องเฉพาะของแต่ละคนและสิ่งแวดล้อม
การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นการเรียนรู้แนวคิดในการจัดการศึกษาตามทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism) ซึ่งระบุจุดประสงค์ (The 3 ระดับความรู้ (Level of Knowledge) และการให้แรงเสริม
(Reinforcement) เป็นแนวคิดในการ
มาที่เน้นทฤษฎีความรู้ความคิด (Cognitive theory) ที่ว่าผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ของตนเอง
1 their own knowledge) จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม (Gagnon
& Collav 2001 ซึ่งเป็น
ประสบการณ์และระเบียบแบบแผนทางความคิดของผู้เรียนแต่ละคน
การเรียนรู้ตามแนวคอนตรัคติ
เตรียมผู้เรียนให้สามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ที่คลุมเครือ
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคอนตรัคติวิสท์ - รักษากระบวนการเรียนรู้ด้วยการกระทําของตนเอง
เมื่อเกิดปัญหาหรือความขัดแย้งทางปัญญาขึ้นบุคคลจะใช้โครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมทำปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือเพื่อนๆที่อยู่รอบข้างความขัดแย้งทางปัญญา
ซึ่งนำไปสู่การสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญาต่อไป
การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
(Constructivist Methods : CLM) เชื่อว่า
ความรู้นั้นเป็น เรื่องเฉพาะของแต่ละคนและสิ่งแวดล้อม
ผู้เรียนแต่ละคนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุด เมื่อได้สร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง
จะให้โอกาสผู้เรียนในการสร้างองค์ความรู้จากความรู้ที่มาก่อน
เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ และความเข้าใจจากประสบการณ์จริง
ในการเรียนรู้ผู้เรียนจะได้รับการส่งเสริมให้สํารวจถึงความเป็นไปได้
วิธีคิดแก้ปัญหา ทดสอบแนวคิดใหม่ๆ การร่วมมือกับผู้อื่น การคิดทบทวนปัญหา
และท้ายที่สุดคือเสนอวิธี แก้ปัญหาที่ดีที่สุดที่ตนเองคิดค้นขึ้น
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการสร้างความต่อเนื่องระหว่างข้อมูลสนเทศใหม่กับความรู้เดิม
การเรียนรู้ บนผลของการผลิตหรือสร้างสรรค์ทางปัญญา
มนุษย์จะเรียนรู้ได้อย่างดีที่สุด ถ้าหากได้ลงมือสร้าง
ความหมายหรือความเข้าใจของตนด้วยตนเอง การเรียนรู้เกิดขึ้น
เมื่อผู้เรียนสร้างโครงสร้างความรู้หรือความ
โจอย่างแข็งขันและมีเจตนามุ่งมั่นชัดเจน โดยผู้เรียนจะสลายความขัดแย้ง (Conflict
Resolution) หรือความ
นของแนวคิดหรือข้อมูลต่าง ๆ
โดยการพินิจพิเคราะห์คําอธิบายหรือเหตุผลเชิงทฤษฎี มนุษย์สร้างเอก
นของตนเองขึ้นจากประสบการณ์จริงในเวลานั้น และโครงสร้างความรู้เดิมที่อยู่ในรูป Schema
มนุ: Perma ในการตีความหรือสร้างความหมายให้กับประสบการณ์หรือข้อมูลใหม่
เมื่อมีการเรียนรู้เกิดขึ้น จะ การปรับ Sehern ให้มีความครอน
- ปรับ Schema ให้มีความครอบคลุม
และมีประสิทธิภาพในการตีความที่สูงขึ้นราคาไม่เข้ากันของแนวคิดหรือข้อมูลต่าง ๆ
ในเรื่องกระบวนการเรียนการสอนผู้เรียนมีความสำคัญในฐานะผู้ที่จะต้องมีปฎิสัมพันธ์กับวัตถุหรือ
ปรากกฎการณ์ โดยการสังเกต การวัดหรือประมาณการ การตีความ หรือการกระทำ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจร้างความคิดรวบยอดต่อสิ่งเหล่านั้น ผู้เรียนเป็นผู้สร้างแนวทางแก้ปัญหาของตนเอง
ดังนั้นจึงเห็นคุณค่าของความคิดริเริ่ม ความเป็นอิสระในความคิด
เมอร์ฟี่ Murphy
(1997 : Online) รวบรวมแนวคิดของนักการศึกษาต่าง
ๆ ในการจัดการเรียน สอนตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสท์ สรุปได้ดังนี้
1.
กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้มุมมองที่หลากหลายในการนําเสนอความหมายของมโนทัศน์
2.
ผู้เรียนเป็นผู้กําหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมายการเรียนของตนเองหรือจุดมุ่งหมายของ
เรียนการสอนเกิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน
3.
ครูผู้สอนแสดงบทบาทเป็นผู้ชี้แนะ ผู้กํากับ ผู้ฝึกฝน ผู้อํานวยความสะดวกในการเรียนการสอน
4.
จัดบริบทของการเรียน เช่น กิจกรรม โอกาส เครื่องมือ สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม
และการกํากับและรับรู้เกี่ยวกับตนเอง
5.
ผู้เรียนมีบทบาทสําคัญ ในการสร้างความรู้และกํากับการเรียนรู้ของตนเอง
6.
จัดสถานการณ์การเรียน สภาพแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและงานที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนตามสภาพจริง
7.
ใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิเพื่อยืนยันสภาพการณ์ที่เป็นจริง
8.
ส่งเสริมการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการเจรจาต่อรองทางสังคมและการเรียนการสอน
9.
พิจารณาความรู้เดิม ความเชื่อและทัศนคติของนักเรียนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
10.
ส่งเสริมการแก้ปัญหา ทักษะการคิดระดับสูงและความเข้าใจเรื่องที่เรียน
11. นําความผิดพลาด
ความเชื่อที่ไม่ถูกต้องของนักเรียนมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้
12. ส่งเสริมให้นักเรียนค้นหาความรู้อย่างอิสระ
วางแผนและการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง
13. ให้นักเเรียนได้เรียนรู้งานที่ซับซ้อน
ทักษะและความรู้ที่จําเป็นจากการลงมือปฏิบัติด้วย
14.
ส่งเสริมให้นักเรียนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ของเรื่องที่เรียน
15. อํานวยความสะดวกในการเรียนรู้ของนักเรียน
โดยให้คําแนะนําหรือให้ทํางานร่วมกับผู้อื่น
16. วัดผลการเรียนรู้ของนักเรียนตามสภาพที่เป็นจริงขณะดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนจาก
แนวคิดของนักการศึกษาดังกล่าว
สรุปคุณลักษณะของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสท์ มีดังนี้
1.
ผู้เรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง วิธีการก
2.
การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิมและความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
3.
การมีปฏิสัมพันธ์ต่อสังคมมีความสําคัญต่อการเรียนรู้
4.
การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริงทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความหมาย
1.
แนวคิดคอนสตรัคติวิสท์ แบบกระบวนการทางสมองในการประมวลผล (2
Sing approach) หรือแนวคิดแบบการประมวลผลข้อมูลนั้น
ใช้พื้นฐานที่ว่านักเรียนเรียน
จะเรียนจากครูหรือการได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ โดยการประมวลผลของ
processing approach) หรือแนวคิดแบบความจริง
ไม่ว่าจะเรียนจากครูโดยการประมวลผลข้อมูลนี้ใช้หลักว่า
มีความจริงที่เป็นที่สามารถวัดและทําเป็นแบบได้
ตามหลักปรัชญาของพอสิทิวิสต์
2.
แนวคิดอินเตอร์เอกทีฟคอนสตรัคติวิสท์ (interactive constructiV1st approach) แนวคิดแบบโซซัลคัน สตวิกสต์
เป็นมุมมองที่ว่านักเรียนสร้างความรู้และเรียนรู้เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับ
จับต้องได้และผู้คนรอบข้าง
3.
แนวคิดคอนสตรัคติวิสท์เชิงสังคม (social constructivist approach) แนวคิดแบบโยน สตรักติวิสต์
แนวคิดนี้ใช้หลักการว่าความรู้เกิดขึ้นในระดับชุมชนเมื่อผู้คนที่อยู่ในชุมชนนั้นมีปฏิสัมพัน
4.
แนวคิดเรดิคอลคอนสตรัคติวิสท์ (radical constructivist approach) แนวคิดแบบแรง
สตรัคติวิสต์ แนวคิดนี้เชื่อว่าความคิดมาหมายหลากหลายล้วนแต่มีทางที่จะเป็นจริงได้
แนวคิดนี้จึงบอกว่าไม่มีความคิดใดเป็นจริง
แนวคิดคอนสตรัคติวิสท์ ทั้ง 4 แนวคิด
มีข้อตกลงเบื้องต้นที่อยู่ภายใต้ทฤษฎีคอนสตรัคติ เหมือนกัน สรุปได้ 3 ประการคือ
1. การเรียนรู้
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล ผู้เรียนเป็นผู้รับผิดชอบการเรียน ตน
ไม่มีบุคคลใดสามารถเรียนรู้แทนกันได้
2. ความรู้
ความเข้าใจและความเชื่อที่มีอยู่เดิมส่งผลต่อการเรียนรู้
3.
ความขัดแย้งทางความคิดเอื้ออํานวยให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ เพื่อลดความขัดแย้งทางความคิด
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสท์
แสดงให้เห็นจุดเปลี่ยนทางด้านการศึกษา กล่าวคือ เปลี่ยนจากรูป
การศึกษาที่อยู่บนพื้นฐานตามทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ซึ่งเน้นในเรื่องเชาว์ปัญญา (Intel จุดประสงค์(Domains
of objective) ระดับความรู้ (Level of Knowledge) และการให้แรงเสริม (Reinforce มาเป็นรูปแบบการจัดการศึกษาที่เน้นทฤษฎีความรู้ความคิด
(Cognitive theory) ซึ่งเป็นพื้นฐานสําคัญ
เรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสท์ (Constructivist learning) ที่มีความเชื่อที่ว่าผู้เรียนสามาร ความรู้ของตนเอง (Construct
their own knowledge) จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม (Gagnon
6 2001:1)
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสท์
1.
ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ เมื่อทํากิจกรรมการเรียนรู้
2.
ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ หรือสร้างความหมาย เมื่อ กิจกรรม
3.
ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้เกี่ยวกับสังคม เมื่อต้องการนําความหมายที่ตนเอง
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
การเรียนรู้แบบสร้างความรู้ด้วยตนเองสรุปได้ 3 ขั้น
1.
การทําความรู้ที่มีอยู่ให้กระจ่างแจ้ง
2. การระบุ
การได้รับและการเข้าใจข้อมูลใหม่
3. การยืนยันความถูกต้องและการใช้ข้อมูลใหม่
ขั้นตอนที่ 1 การทําความรู้ที่มีอยู่ให้กระจ่างแจ้ง
ผู้เรียนแต่ละคนต่างมีความคิดดั้งเดิมและมีความจําเป็นที่จะต้องเลือกหรือปรับเปลี่ยนมโน
วัน แนวคิดดังกล่าว ความคิดของผู้เรียนนั้นท้าทายความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้อง
ชักชวนให้ผู้เรียนเปลี่ยน แนวคิดและยอมรับความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้อง
กลวิธีสําหรับขั้นตอนที่ 1
สัมภาษณ์หรืออภิปรายกลุ่ม
แบ่งกลุ่มข้อมูลหรือจําแนกข้อมูล
แบ่งกลุ่มข้อมูล
เรียงลําดับข้อมูลตามลักษณะบางประการ (เช่น มวลสาร)
จําแนกข้อมูล
จัดกลุ่มวัตถุโดยใช้ลักษะทางคุณภาพหรือปริมาณ (สี รูปร่าง ขนาด)
แผนที่ความคิดหรือแผนผังมโนทัศน์
ระดมสมองที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อหลัก
ขั้นตอนที่ 2 การระบุ การได้รับและการเข้าใจข้อมูลใหม่
การวางแผนแบบร่วมกัน
: การวางแผนเครื่องมือที่สร้างแรงจูงใจที่เข้มแข็ง ผู้เรียนได้รับ
ข้อมูลว่าจะต้องเรียนรู้อะไรจากหัวข้อบ้าง
อภิปรายเป็นกลุ่มเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องเรียนรู้ ให้ขอบข่าย สาระสําคัญในเรื่องที่เรียนรู้
กลวิธีสําหรับขั้นตอนที่ 2
นักจัดการขั้นสูง (advance
organizers) ข้อมูลใหม่เชื่อมโยงเข้ากับความรู้เก่าที่มีอยู่แล้ว
ได้อย่างไร
อภิปัญญา (meta-cognition)
ผู้เรียนกํากับติดตามการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนเป็นผู้นําใน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
เทคนิควิทยาศาสตร์
(techno-sciencing) ใช้กิจกรรมเป็นฐานประกอบคําอธิบาย
"ดสนใจด้วยตนเอง ปรัชญาส่วนบุคคล
ขั้นตอนที่ 3 การยืนยันความถูกต้องและการใช้ข้อมูลใหม่
ผู้เรียนได้รับข้อมูลเพื่อสร้างองค์ความรู้
ความรู้ใหม่ที่สร้างขึ้นของคนส่วนใหญ่สร้างขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ความรู้ถูกทําให้กระจ่างและยืนยันความถูกต้องเมื่อผู้เรียนนําความรู้ใหม่ไปปา
อามผู้เรียน สถานการณ์
กลวิธีสําหรับขั้นตอนที่
3
· การเรียนรู้แบบร่วมมือ
สร้างความเข้าใจและแสดงออกในรูปการใช้โมเดล
ช่วยในการสร้างความเข้าใจ
และยังสาธิตมโนทัศน์ของความเข้าใจ หลักการ วมมืออย
กระบวนการที่เป็นเลิศเทคนิคที่ใช้ในการแสวงหาความรู้และการยืนยันความถูกต้องของความรู้
· การทดลอง/
การออกแบบและเทคโนโลยี
ใช้สืบเสาะหาความรู้เป็นฐาน
· วิธีการแบบบูรณาการ
สร้างความเชื่อมโยงระหว่างหัวข้อ
คําถามและแนวคิดอื่นๆ