การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัล
D: การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัล (Digital
Learning) การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัลเป็นการเรียนรู้ผ่าน
เช่น เครือข่ายสังคมออนไลน์ Social networking) การแชร์ภาพ และการใช้อินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่
การเรียนรู้จากสื่อดิจิทัลมีนัยมากกว่าการรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
แต่ยังครอบคลุมถึงประเด็น เกงวกับเนื้อหา (ดาtent) จริยธรรม สังคม และการสะท้อน(Relection) ซึ่งตั้งอยู่ในการเรียนรู้ การทํา และชีวิตประจําวัน
การเลือกและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
การนําเสนอสื่อการเรียนการสอน
ควรเป็นการกระตุ้นทางการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ง่าย แก่การเข้าใจ สื่อที่ซับซ้อนมีแนวโน้มของการสิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่ายสูงและบ่อยครั้งพิสูจน์ได้ว่ามีประสิทธิภาพและเชื่อถือ
การตัดสินใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่สื่อดิจิทัล
เทคโนโลยีใหม่/สื่อดิจิทัล ประกอบด้วย การเรียนการสอนที่อาศัยคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐาน (computer-based instruction) และการเรียนรู้ทางไกล ที่อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นพื้นฐาน
(selecticulipI-based distance
learning technologies) การเรียนรู้ทางไกลเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนในสถานที่หนึ่ง
เทคโนโลยีใหม่มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบดังแสดงที่ตาราง 18
นิยามศัพท์เฉพเรียนรู้ทางไกลเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนอยู่ในเทคโนโลยี
แบบจําลองการเลือกสื่อ
แบบจําลองการเลือกสื่อการเรียนการสอนมีหลายแบบ
สําหรับการพิจารณาแต่ละแบบจะมี เลือกสื่อที่ต่างกัน สิ่งที่น่าสังเกตคือ
แต่ละแบบมีความต่างกันอย่างไร และพิจารณาว่ามีอะไรเป็นนัยของอา ต่าง
แต่ละแบบจําลองพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยในการเลือกและการใช้ประโยชน์จากวัสดุ
ให้สังเกตภาพที่ ไม่ได้นํามาเสนอวิธีการเลือกสื่อที่ตายตัว และภาพที่ 8
ซึ่งใช้สําหรับโครงการการพัฒนาการเรียนสอนของ กองทัพอากาศแบบจําลองของวิลเลี่ยม
ออลเลน
ในแบบจําลองของวิลเลี่ยม ออลเลน (William allen) ผู้ออกแบบการเรียนการสอนต้องตัดสินใจ
เกี่ยวกับการจําแนกจุดประสงค์และการจําแนกความสามารถสูงสุดของสื่อการเรียนสอนที่จะพลิกแพลงให้เข้า
กับจุดประสงค์ ออลเลน ได้ตรวจสอบประสิทธิผล สื่อสําหรับวัดชนิดของการเรียนรู้
ด้วยเหตุผลนี้ ออลเลน ได้สร้างตารางแจกแจงสองทาง
ซึ่งจําแนกสื่อที่ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ปานกลาง และต่ํา ตามชนิดของ
การเรียนรู้
แบบจําลองของเยอร์ลาชและอีลี
แบบจําลองเยอร์ลาชและอีลี
(Gerlach and Ely) ได้เป็นที่รู้จักกันในปี ค.ศ. 1971 ในตําราที่ชื่อว่า การสอนและสื่อ เยอร์ลาชและอีลีได้นําเสนอเกณฑ์
ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนการสอน
หลังจากที่ระบุจุดประสงค์และระบุพฤติกรรมความพร้อมที่จะรับการสอน (entering behaviors) แล้วเกณฑ์ ดังกล่าวประกอบด้วยประการที่
ความเหมาะสมทางปัญญา
(สือสามารถส่งผ่านตัวกระตุ้นตามเจตนารมณ์ของจุดประสงค์หรือไม่) ประการที่ 2 ระดับของความเข้าใจ (สื่อทําให้ผู้เรียนเข้าใจหรือไม่) ประการที่ 3ราคา ประการที่ 4 ประโยชน์
(เครื่องมืออุปกรณ์และวัสดุมีประโยชน์หรือไม่) และประการที่ 5 คุณภาพทางเทคนิค
(คุณลักษณะทางการฟังและการดูของการผลิตมีคุณภาพเพียงพอหรือไม่)
การขยายขอบเขตการเรียนรู้ด้วยการวิจัยการเรียนรู้
ผู้สอนสามารถปรับปรุงความสามารถในด้านวิชาการของผู้เรียนด้วยการวิจัย
การวิจัยการเรียนรู้จะ
ช่วยให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจว่าเงื่อนไขอะไรที่ทําให้มีการเรียนรู้เพิ่มขึ้นในสถานการณ์ที่คล้ายคลึง
กับที่ตนเผชิญอยู่นักวิทยาศาสตร์พฤติกรรมใช้วิธีการในการศึกษาพฤติกรรมด้วยการสังเกตบุคคลในสถานที่
กรณีที่หลากหลาย ด้วยการตั้งคําถามลึก ๆ
กฎในการเลือกสื่อ
การเลือกสื่อมีกฏอยู่ 6 ข้อ
หรือเรียกว่าหลักการทั่วไปในการพิจารณาก่อนที่จะตัดสินใจอย่างไม่เป็น
ทางการในการเลือกสื่อ
กฎที่ 1
การเรียนการสอน
กฎที่ 2 ชื่อทางเคียว
กฎที่ 3 การเรียนรู้ของแต่ละบุคคล
กฎที่ 4
การนําเสนอโลกแห่งความเป็นจริง
กฎที่ 5 พฤติกรรมที่คาดหวังหลังจากการเรียนการสอน
กฎที่ 6 เหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ของบทเรียนอื่น ๆ
สรุป
การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะเปลี่ยนการเรียนการสอนแบบเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางมา
เป็นการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน การเรียนรู้ คือกระบวนการทางสังคม
ผู้เรียนจะต้องการเรียนรู้เพื่อให้รู้หรือคําตอบ
การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และหาคําตอบจากสื่อสังคมออนไลน์ การเรียนรู้ออนไลน์ การ
รางสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ใหม่โดยใช้ความสามารถของอินเทอร์เน็ต เว็บ
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อรับรูปแบบการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไป
สภาพแวดล้อมที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น สารสนเทศคือ
ส่วนสําคัญของการเรียนรู้ สื่อดิจิทัล ทําให้เกิดโอกาสในการช่วยให้ผู้เรียนรู้เข้าถึงและมี
มติสัมพันธ์กับแหล่งสารสนเทศและกลุ่มผู้เรียนรู้ด้วยกัน ผู้สอนจะต้องเรียนรู้และพัฒนาเพื่อให้สอดคล้อง
กับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน